ศูนย์ประสานเพื่อการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ประสานงานและสนับสนุนการบริหารงานทางธุรการหน่วยงานต่างๆ

ผลการดำเนินงานประจำปี 2554 

Patent สิทธิบัตร

ในปีที่ 1 ได้ 2 คำขอ ส่วนในปีที่ 2 ได้สิทธิบัตรฉบับร่างเพื่อยื่นคำขอสิทธิบัตรจำนวน 1 สิทธิบัตร หากเทียบกับแผนงาน 5 ปี การดำเนินงานถึงปีที่ 2 จะได้สิทธิบัตร 1 สิทธิบัตร ซึ่งการดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย

Prototype ระบบต้นแบบ ได้พัฒนาระบบต้นแบบ 6 ระบบ ได้แก่

  • ระบบฐานข้อมูลกิจกรรมความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม กับต่างประเทศของหน่วยงานภาครัฐไทย (MOU Extraction )
  • ระบบจัดทำคลังข้อมูลสารสนเทศการเกษตรเพื่อให้บริการความรู้ด้านพืชเศรษฐกิจ : กล้วยไม้
  • ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ประเภท Open Source
  • ระบบฐานข้อมูลธุรกิจนำเที่ยวมัคคุเทศก์ผู้นำเที่ยว
  • เครื่องมือช่วยสร้าง บำรุงรักษาและจัดเก็บออนโทโลยี
  • ระบบ Easy Media Corpus Management

Publication สิ่งตีพิมพ์  จำนวนสิ่งตีพิมพ์ ในปีที่ 2 นี้ได้ผลงานบทความตีพิมพ์ระดับนานาชาติ 8 ฉบับ ดังมีรายละเอียดดังนี้

  • Nigel Collier, Reiko Matsuda Goodwin, John McCrae, Son Doan, Ai Kawazoe, Mike Conway, Asanee Kawtrakul, Koichi Takeuchi and Dinh Dien. 2010. An ontology-driven system for detecting global health events. 23rd International Conference on Computational Linguistics (COLING 2010), Beijing, China, August 23-27, pp.215-222.
  • Panita Yongyuth, Rui Prada, Arturo Nakasone, Asanee Kawtrakul, Helmut Prendinger. 2010. AgriVillage: 3D Multi-language Internet Game For Fostering Agriculture Environmental Awareness. The International ACM Conference on Management of Emergent Digital EcoSystems (MEDES’10). 145-152. Miracle Grand Convention Hotel, Bangkok, Thailand. October 26th – 29th, 2010.
  • Marut Buranarach, Nattanun Thatphithakkul, Thepchai Supnithi, Rattakhorn Phetsawat, Phongphan Phienphanich, Asanee Kawtrakul, Suwaree Wongrochananan, Nittayawan Kulnawan. 2010. Development of a Personalized Knowledge Portal to Support Diabetes Patient Self-management. The International ACM Conference on Management of Emergent Digital EcoSystems (MEDES’10). pp.205-206. Miracle Grand Convention Hotel, Bangkok, Thailand. October 26th – 29th, 2010.
  • Asanee Kawtrakul, Intiraporn Mulasastra, Tawa Khampachua and Somchoke Ruengittinun, Moving Fast Forward to National Data Standardization. 11th European Conference on eGovernment, Faculty of Administration, University of Ljubljana, Ljubljana, Slovenia, 16-17 June 2011, Edited by Maja Klun, Mitja Decman and Tina Jukić, University of Ljubljana
  • Marut Buranarach, Nattanun Thatphithakkul, Asanee Kawtrakul, Suwaree Wongrochananan, Nittayawan Kulnawan, Wiroj Jiamjarasrangsi. 2011. Development of Service Systems to Support Diabetes Patient Self-management Using a Personalized Service Framework. SRII Global Conference 201 Fairmont Hotel, Silicon Valley, San Jose, California, USA. March 29 - April 2, 2011
  • Artit Ungkanont, Khanat Kruthkul, Nawanan Theera-Ampornpunt, Supachai Parchariyanon, Panjai Tantatsanawong, J. Mike McCoy, Bordin Sapsomboon, Thaweesak Koanantakool, Pansak Siriruchatapong, Asanee Kawtrakul, Chokchai Leangsuksun, Boonchai Kijsanayotin, Sutee Tuwirat, Poonlarb Chatchawalkhosit. 2012. A Blueprint Development of Better and Smarter Healthcare Services in Thailand. SRII Global Conference 201 Fairmont Hotel, Silicon Valley, San Jose, California, USA. March 29 - April 2, 2011.
  • Thepchai Supnithi, Pisuth Paiboonrat, Marut Buranarach, Asanee Kawtrakul, Setapong Lekawatana, Ath Intalak, Suvichai Sangtien, worapot choptham. 2012. Ontology based Orchid Knowledge Platform for Knowledge Services in Orchid Cluster. SRII Global Conference 201 Fairmont Hotel, Silicon Valley, San Jose, California, USA. March 29 - April 2, 2011.
  • Panjai Tantatsanawong, asanee Kawtrakul, Wichan Lertwipatrakul. 2012. Enabling Future Education with Smart Services. SRII Global Conference 201 Fairmont Hotel, Silicon Valley, San Jose, California, USA. March 29 - April 2, 2011.

Partnership (เครือข่าย)

    เครือข่ายความร่วมมือแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ เครือข่ายความร่วมมือภายในประเทศและเครือข่ายความร่วมมือกับนักวิจัยต่างประเทศ

  • เครือข่ายความร่วมมือภายในประเทศ
    • ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
    • โครงการ “MOU Extraction (ร่วมกับห้องแลป HLT) โดย ดร.ชัย วุฒิวิวัฒน์ชัย
    • โครงการจัดทำคลังข้อมูลสารสนเทศการเกษตรเพื่อให้บริการความรู้ด้านพืชเศรษฐกิจ : กล้วยไม้ (ร่วมกับห้องแลป HLT) โดย ดร.ชัย วุฒิวิวัฒน์ชัย

    • โครงการ Franco-Thai “Easy Media Corpus Management” (ร่วมกับห้องแลป HLT)” โดย ดร.ชัย วุฒิวิวัฒน์ชัย
    • โครงการพัฒนาเครื่องมือช่วยสร้าง บำรุงรักษาและจัดเก็บออนโทโลยี (ร่วมกับห้องปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีเครือข่าย) โดย ดร.ศรเทพ วรรณรัตน์ 
    • ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรื่อง “โครงการ Thailand e-Government Interoperability Framewor” โดย ผศ. อินทิราภรณ์ มูลศาสตร์  
    • ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรื่อง “โครงการ Thailand e-Government Interoperability Framework” โดย นายสมโชค เรืองอิทธินันท์
    • มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต เรื่อง “โครงการพัฒนาคลังประโยคสำหรับระบบสกัด Know why ทางด้านสิ่งแวดล้อม” โดย ดร.ฉวีวรรณ เพ็ชรศิริ และ ดร.วรสิทธิ์ ชูชัยวัฒนา
  • กลุ่มเป้าหมาย / ผู้ใช้ / ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
    • สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) “โครงการ MOU Extraction” (ร่วมกับห้องแลป HLT) โดย ดร.นเรศ ดำรงชัย

    • ศูนย์สนเทศทางการเกษตรแห่งชาติ สำนักหอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ “โครงการพัฒนาเครื่องมือช่วยสร้าง บำรุงรักษาและจัดเก็บออนโทโลยี” โดย ดร.อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ
    • คณะแพทยศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เรื่อง “การพัฒนาออนโทโลยีศัพท์แพทย์จาก ICD10” โดย น.พ.วรรษา เปาอินทร์ 
    • ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร “โครงการระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารและอำนวยความสะดวกในการบริการเกษตรกร” โดย ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 
    • ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ “โครงการพัฒนาปรับปรุงระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สวทช. และเครือข่าย” โดย นางสาวสุภาพร ชัยธัมมะปกรณ
    • สำนักทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ “โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์”โดย นายขจร วีระใจ
    • ศูนย์ประสานเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ “โครงการจัดตั้งศูนย์ความรู้เฉพาะด้านวิศวกรรมความรู้และวิศวกรรมภาษา”  โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภา มหากาญจนกุล
  • ความร่วมมือกับนักวิจัยต่างประเทศ
    • เรื่อง โครงการพัฒนาเครื่องมือช่วยสร้าง บำรุงรักษาและจัดเก็บออนโทโลยี
    • เรื่อง Information extraction
    • ผู้ประสานงานในโครงการ Visiting Professor
    • เรื่อง Parser and Machine translation”
    • เรื่อง “Question and Answering System”
    • เรื่อง Franco-Thai “Easy Media Corpus Management”
    • Pierre Zweigenbaum จาก LIMSI-CNRS, Orsay โดยการสอนใน The 4th Intensive Summer school and collaborative Franco-Thai workshop on Natural Language Processing
    • Philippe Blache จาก Université de Provence โดยการสอนใน The 4th Intensive Summer school and collaborative Franco-Thai workshop on Natural Language Processing
    • Claire Gardent จาก LORIA, Nancy โดยการสอนใน The 4th Intensive Summer school and collaborative Franco-Thai workshop on Natural Language Processing
    • Estelle Delpech จาก Liana, Nantes โดยการสอนใน The 4th Intensive Summer school and collaborative Franco-Thai workshop on Natural Language Processing
    • เรื่อง Problem Solving, Method and Man who solved the problem
    • เรื่อง AgriVillage: 3D Multi-language Internet Game For Fostering Agriculture Environmental Awareness

กิจกรรม

ในปีที่ 2 นี้ ศูนย์ความรู้เฉพาะด้านวิศวกรรมความรู้และวิศวกรรมภาษาได้เข้าร่วมและจัดทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ความรู้และให้บริการวิชาการดังนี้

กิจกรรมที่ผ่านมา (มิถุนายน –ธันวาคม พ.ศ. 2553)

  • งานประชุมวิชาการ "The International Conference on Management of Emergent Digital (MEDES 2010) เมื่อวันที่ 26-28 ตุลาคม 2553 ณ ห้อง Magic2

               

  • การอบรมพิเศษและงานประชุมเชิงปฏิบัติการ "The 4th Intensive Summer school and collaborative workshop on Natural Language Processing" เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน - 1 ธันวาคม 2553 
  • การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ “ขับเคลื่อนงานวิจัยข้าวไทยสู่นวัตกรรม” เมื่อวันที่ 15 - 17 ธันวาคม 2553 

 

  • ร่วมงานประกาศผล Samart Innovation Awards 2010 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2553 เวลา 00 น. โดยได้รับรางวัล Bronze Award Business Software

  

จัดทำเว็บไซต์ www.naist.cps.ku.ac.th/uknow/index.ht